ประวัติผู้ประเมิน
เว็บไซต์สำหรับเก็บผลงานประเมิน PA
นางสาวพรพรรณ อัตภิญโญ
ตำแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชำนาญการ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 1 ปีการศึกษา 2565
ติดต่อผู้จัดทำ
ประวัติส่วนตัวผู้ประเมิน
ส่วนที่ 1 ข้อตกลงในการพัฒนางานตามมาตรฐานตำแหน่ง
1. ภาระงาน จะมีภาระงานเป็นไปตามที่ก.ค.ศ. กำหนด
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 20 ชั่วโมง/สัปดาห์ดังนี้
1.1 ชั่วโมงสอนตามตารางสอน รวมจำนวน 20 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชาภาษาไทย ท11101 จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชาคณิตศาสตร์ ค11101 จำนวน 5 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี ว11101 จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชาวิทยาศาสตร์เพิ่มเติม ว11201 จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
รายวิชาสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ส11101 จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมแนะแนว จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมชุมนุม จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
กิจกรรมลูกเสือ-เนตรนารี จำนวน 1 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.2 งานส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้ จำนวน 8 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.3 งานพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา จำนวน 17 ชั่วโมง/สัปดาห์
1.4 งานตอบสนองนโยบายและจุดเน้น จำนวน 2 ชั่วโมง/สัปดาห์
ส่วนที่ 2 ข้อตกลงในการพัฒนางานที่เป็นประเด็นท้าทาย ในการพัฒนาผลลัพธ์
การเรียนรู้ของผู้เรียน
ประเด็นที่ท้าทายในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ของผู้เรียนของผู้จัดทำข้อตกลง ซึ่งปัจจุบัน ดำรงตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ ต้องแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังของวิทยฐานะครูชำนาญการพิเศษ คือ การริเริ่ม พัฒนา การจัดการเรียนรู้และการพัฒนาคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน ให้เกิดการเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีขึ้นหรือมีการพัฒนามากขึ้น (ทั้งนี้ ประเด็นท้าทายอาจจะแสดงให้เห็นถึงระดับการปฏิบัติที่คาดหวังในวิทยฐานะที่สูงกว่าได้)
ประเด็นท้าทาย เรื่อง การใช้บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ เรื่อง วัสดุรอบตัว วิชาวิทยาศาสตร์ ของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1
1. สภาพปัญหาการจัดการเรียนรู้และคุณภาพการเรียนรู้ของผู้เรียน
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคไวรัสโควิด (COVID 19) ที่ทำให้ผู้เรียนไม่สามารถมาเรียนที่โรงเรียนได้ บทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน เป็นสื่อในการนำเสนอเนื้อหา และแบบทดสอบโดยมีการตอบโต้กับเครื่อง คอมพิวเตอร์อยู่ตลอดเวลา สามารถแสดงผลตอบกลับได้ทันที ตอบสนองความแตกต่างระหว่างบุคคล อีกทั้งยังช่วยประหยัดเวลาในการสอน นักเรียนได้มีเวลาในการทำกิจกรรมการเรียนมากขึ้น ซึ่งจะส่งผลให้ผู้เรียนมี ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนสูงขึ้น
2. วิธีการดำเนินการให้บรรลุผล
สร้างบทเรียนสำเร็จรูป ทดลองใช้กับกลุ่มตัวอย่าง และประเมินความพึงพอใจในการใช้งานบทเรียนคอมพิวเตอร์ช่วยสอน
3. ผลลัพธ์การพัฒนาที่คาดหวัง
3.1 เชิงปริมาณ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/1 โรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 1 ร้อยละ 80 ที่เรียนในรายวิชาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี เรื่องวัสดุรอบตัว สัมฤทธิ์เพิ่มสูงขึ้น
3.2 เชิงคุณภาพนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 1/1 โรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 1 มีความรู้ความเข้าใจรายวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องวัสดุรอบตัว
คลิป VDO การจัดการเรียนรู้
คลิปการสอน รายวิชา วิทยาศาสตร์ ระดับชั้น ป.1 โรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 1
ด้านที่ ๑ ด้านการจัดการเรียนรู้
::: ประกอบด้วย :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๒ ด้านการส่งเสริมและสนับสนุนการจัดการเรียนรู้
::: ประกอบด้วย :::
- - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - - -
ด้านที่ ๓ ด้านการพัฒนาตนเองและวิชาชีพ
การพัฒนาตนเอง
การพัฒนาวิชาชีพ
📚 ระดับการศึกษา
- ปริญญาตรี ✨ วิทยาศาสตร์ทั่วไป (กศ.บ.) วิทยาศาสตร์
มหาวิทยาศรีนครินทรวิโรฒ ประสานมิตร
- ปริญญาโท ✨ ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต (ศษ.ม.) การบริหารการศึกษา
มหาวิทยาลัยบูรพา
🖥️ ความรู้ ความสามารถ
- การออกแบบกราฟิกด้วย Photoshop / Canva
- การทำปกและงานประชาสัมพันธ์ด้วย Powerpoint
- การสร้างเว็บไซต์ด้วย Google Site
- การใช้เทคโนโลยีในการจัดการเรียนการสอนที่หลากหลาย
นางสาวพรพรรณ อัตภิญโญ
ครู คศ.2 โรงเรียนนิคมสร้างตนเองจังหวัดระยอง 1